วันอังคารที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2555

โมเมนต๋วม

บทที่ โมเมนตัมและการดล
โมเมนตัม
          คือ ปริมาณที่เกิดจากมวลของวัตถุคูณกับ ความเร็วของวัตถุในขณะนั้น เป็นปริมาณเวกเตอร์  P = mv
                       P โมเมนตัม มีหน่วยเป็น kg.m/s m = มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น kg ความเร็วของวัตถุ มีหน่วยเป็น m/s แรง และการเปลี่ยนโมเมนตัม แรง คือ ความพยายามที่จะเปลี่ยนสถานะการหยุดนิ่ง หรือสถานะการเคลื่อนที่ของวัตถุ 
แทนค่า (2) ในสมการ (1)
แรงลัพธ์ที่กระทำกับวัตถุ = อัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมของ
วัตถุ การดล และแรงดล การดลของวัตถุ คือ การเปลี่ยนโมเมนตัมของวัตถุนั้น เป็นปริมาณเวกเตอร์มีทิศทางไปทางเดียวกับทิศของแรงที่ มากระทำ มีหน่วยเป็น kg.m/s
การดลของวัตถุในเวลา t
m = 
มวลของวัตถุ มีหน่วย kg
ความเร็วต้นของวัตถุ มีหน่วย m/s
ความเร็วปลายของวัตถุ มีหน่วย m/s
t = 
เวลาที่ทำให้วัตถุเปลี่ยนจาก เป็น การดล มี แบบ คือ
1. 
เมื่อแรงกระทำต่อวัตถุมีค่าคงที่
1.1 
ทิศของ และ อยู่ในแนวเดียวกัน
1.2 ทิศของ และ อยู่ตรงกันข้าม
1.3 ทิศของ และ อยู่กันคนละแนว
2. เมื่อแรงกระทำมีค่าไม่คงที่ จะสามารถหาค่าการดลได้
จากพื้นที่ใต้เส้นกราฟระหว่างแรงกับเวลา โดยต้องคำนึงทิศ
ทางของแรงด้วย
พื้นที่ A - พื้นที่ B
แรงดล แรงดล คือ แรงที่กระทำต่อวัตถุในช่วงเวลาสั้น หรืออัตรา
การเปลี่ยนโมเมนตัมในช่วงเวลาสั้น ๆ
แรงดล แรงดล คือ แรงที่กระทำต่อวัตถุในช่วงเวลาสั้น หรืออัตรา
การเปลี่ยนโมเมนตัมในช่วงเวลาสั้น  การชน
1. 
การชนใน มิติ โมเมนตัมรวมก่อนชน = โมเมนตัมรวมหลังชน
m1u1 + m2u2 = m1v1 + m2v2 
พลังงานจลน์รวมก่อนชน = พลังงานจลน์รวมหลังชน
m1 = 
มวลวัตถุก้อนแรก
m2 = 
มวลวัตถุก้อนที่ 2
u1 = 
ความเร็วของวัตถุก้อนแรกก่อนชน
u2 = 
ความเร็วของวัตถุก้อนที่ ก่อนชน
v1 = 
ความเร็วของวัตถุก้อนที่ หลังชน
v2 = 
ความเร็วของวัตถุก้อนที่ หลังชน หมายเหตุ สูตรนี้ใช้เมื่อและไปทางเดียวกัน ถ้าใน
คนละทิศต้องคิดเครื่องหมายของความเร็วด้วย
u1 + v1 = u2 + v2 ผลรวมของความเร็วก่อนและหลังชนมวลที่ 1 = ผลรวมของ
ความเร็วก่อนและหลังชนมวลที่ 2
2. 
การชนใน มิติ เป็นการชนกันของวัตถุ ก้อน ซึ่งภาย
หลังชนกันแล้วแยกไปคนละทางและไม่มีการสูญเสีย
พลังงานจลน์

โมเมนตัมรวมก่อนชนแกน x =โมเมนตัมรวมหลังชนแกน โมเมนตัมรวมก่อนชนแกน y =โมเมนตัมรวมหลังชนแกน y